ผนึก3 สารอาหารสำคัญในนมแม่ (DHA, Choline, Lutein) ช่วยพัฒนาสมอง

ผนึก3 สารอาหารสำคัญในนมแม่ (DHA, Choline, Lutein) ช่วยพัฒนาสมอง

ผนึก3 สารอาหารสำคัญในนมแม่ (DHA, Choline, Lutein)  ช่วยพัฒนาสมอง
แชร์เรื่องนี้
แชร์เรื่องนี้LineTwitterFacebook

     ใหม่ ครั้งแรก การศึกษาเชิงสังเกตของ Dr. Chetham และ Dr. Sheppard ที่มหาวิทยาลัย North Carolina ประเทศ สหรัฐอเมริกา วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสารอาหารในนมแม่ ลูทีน โคลีน และ ดีเอชเอกับความจำของทารกอายุ 6 เดือน โดยการวิเคราะห์สารอาหารสำคัญ ในน้ำนมแม่ที่ให้นมบุตรที่อายุ 3 -4 เดือน และทดสอบความจำ ในทารก 67 คนที่ได้นมแม่ที่นำมาวิเคราะห์ ที่อายุ 6 เดือน เพื่อดูความสัมพันธ์ของผลการทำงานร่วมกันของ DHA Choline Lutein กับความจำทารก ผลการศึกษา แสดงความสัมพันธ์ของทำงานร่วมกัน 3 สารอาหารในนมแม่ที่มี 3 สารอาหารในปริมาณที่สูงกว่า 1

     (ดีเอชเอ &โคลีน, โคลีน & ลูทีน) มีความสัมพันธ์กับกระบวนการสร้างความจำที่ดีกว่าในทารก อย่างไรก็ตามยังต้องการ การศึกษาเพิ่มเติมในการทำงานร่วมกันของสารอาหารเหล่านี้

     แอลฟา-แล็คตัลบูมิน อีก 1 สารอาหารสำคัญ ที่พบในนมแม่ เป็นที่ทราบกันดีว่านมแม่เป็นแหล่งที่ดีที่สุดของสารอาหารต่างๆ เพราะในนมแม่มีสารอาหารที่จำเป็นและสำคัญสำหรับการพัฒนาสมองหลายอย่าง เช่น ดีเอชเอ เอเอ ลูทีน ธาตุเหล็ก และหนึ่งในสารอาหารที่สำคัญคือ แอลฟา-แล็คตัลบูมิน



     “แอลฟา-แล็คตัลบูมิน” เป็นโปรตีน คุณภาพสูงซึ่งพบได้มากในนมแม่ สำคัญต่อการสร้างสื่อประสาท เช่น ทริปโทเฟน ช่วยในการนอนหลับ ทำให้อารมณ์ดี และยังลดความเครียดอีกด้วยผลวิจัยทางการแพทย์แสดงให้เห็นว่าเด็กที่ได้รับนมแม่ จะสร้างสารสื่อประสาทมากกว่า ส่งผลให้เด็กนอนหลับและมีอารมณ์ดีกว่า ซึ่งในระยะยาวอาจส่งผลดีต่อพฤติกรรม การเรียนรู้ และการพัฒนาสมอง2-5


Ref:
1. Cheatham CL and Sheppard KW. Synergistic Effects of Human Milk Nutrients in the Support of Infant Recognition Memory: An Observational Study. Nutrients 2015: 7; 9079-95.
2. 2. Lonnerdal B, Lien EL. Nutritional and physiologic significance of alpha-lactalbumin in infants. Nutr Rev 2003: 61(9); 295-305
3. 3. Steinberg LA, O’Cornell NC, Hatch TF, Picciano MF, Birch LL. Tryptophan intake influences infants’sleep latency. J Nutr 1992: 122(9); 1781-91
4. 4. Cubero J, Valero V, etc. The circadian rhythm of tryptophan in breast milk affects rhythms of 6-sulfatoxymelatonin and sleep in newborn. Neuroendocrinology letters 2005: 26(6); 657-61.
5. 5. Touchette E, Petit D, Seguin JR, etc. Associations between sleep duration patterns and behavioral/cognitive functioning at school entry. Sleep 2007: 30(9); 1213-9
WN/2017/Mar/102/TH


[Advertorial]

แชร์เรื่องนี้
แชร์เรื่องนี้LineTwitterFacebook